บทความ

16.06.2561 บ้านม่อนแสน ป๊อก(เขต) 4 เวียงเมืองยอง แขวงเมืองพยาค รัฐฉาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา.

รูปภาพ
บันทึกภาพไว้เป็นประวัติศาสตร์ 1. ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก Khamyo Prasit   ..งามๆ คลาสสิก อีกหลังหนึ่งครับใน รูปแบบ เฮือนบ่าเก่า จาวไทลื้อ คือเมืองยอง สไตล์ เฮือนไม้เสาตั่งหิน หลังคามุงดินขอ แบบเดิมๆมีอายุเกินกว่า50ปี ตามสภาพ พออาศัยอยู่ได้ ที่บ้านม่อนแสน ป๊อก(เขต)4 เวียงเมืองยอง รัฐฉาน พม่า ครับ 01. เฮือนบ่าเก่า จาวไทลื้อ คือเมืองยอง สไตล์ เฮือนไม้เสาตั่งหิน หลังคามุงดินขอ  ที่บ้านม่อนแสน ป๊อก(เขต)4 เวียงเมืองยอง แขวงเมืองพยาค รัฐฉาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา. Image by Khamyo Prasit. (16.06.2561 หรือ 2018)    02. เฮือนบ่าเก่า จาวไทลื้อ คือเมืองยอง สไตล์ เฮือนไม้เสาตั่งหิน หลังคามุงดินขอ  ที่บ้านม่อนแสน ป๊อก(เขต)4 เวียงเมืองยอง แขวงเมืองพยาค รัฐฉาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา. Image by Khamyo Prasit. (16.06.2561 หรือ 2018)    03. เฮือนบ่าเก่า จาวไทลื้อ คือเมืองยอง สไตล์ เฮือนไม้เสาตั่งหิน หลังคามุงดินขอ  ที่บ้านม่อนแสน ป๊อก(เขต)4 เวียงเมืองยอง แขวงเมืองพยาค รัฐฉาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา. Image by Khamyo Prasit. (16.06.2561 หรือ

10.05.2561 ประวัติเมืองพยาก: ประวัติเมืองพยาก: ประวัติความเป็นมาของเมืองพยากหรือเมืองพญายักษ์

ขอบคุณเนื้อเรื่องและข้อมูล จาก https://moungphayak.blogspot.com/2012/10/blog-post.html วันจันทร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 ประวัติเมืองพยาก ประวัติความเป็นมาของเมืองพยากหรือเมืองพญายักษ์      หัวเมืองทางภาคตะวันออกมีจำนวน  9  เมือง ซึ่งประกอบด้วยเมืองต่างๆดังนี้            1.  เชียงตุง  2.  เมืองเป็ง  3.  เมืองยาง  4.  เมืองขาก  5.  เมืองโต๋น  5.  เมืองสาด  7.  ท่าขี้เหล็ก  8.  เมืองยอง  9.  เมืองพยากซึ่งเป็นเมืองอันดับที่  9  ของประเทศไทยใหญ่ทางทิศตะวันออก มีแม่น้ำไหลจากเมืองเชียงตุงชื่อว่า น้ำหลง ไหลผ่านมาตามระหว่างทางเมืองเชียงตุง-เมืองพยาก ภูมิทัศน์ทิศตะวันตกติดกับเมืองเชียงตุง ทิศตะวันออกอยู่ติดกับท่าขี้เหล็ก ทิศใต้ติดกับเมืองสาด ทิศเหนือติดกับเมืองยองซึ่งเมืองพยากถือว่าเป็นศูนย์กลางของเมืองต่างๆก็ว่าได้โดยมีหมู่บ้านโดยรวมในเขตเมืองพยากจำนวน  27  หมู่บ้านดังนี้                 1.  บ้านเซตาน(ชื่อเดิมก่อนหน้าคือ บ้านซาว สาเหตุที่ชื่อว่า ซาว เพราะว่าครั้งแรกการก่อตั้งหมู่บ้านขึ้นมีบ้านเรือนแค่  20  หลังคาเรือน ซาว ในที่นี้ก็หมายถึง    ยี่สิบ นั่นเองในภาษาไทยใหญ่

24.05.2561 ลิงก์ : สํารวจชุมชนไตลื้อบ้านกอข่อย เมืองยอง และบ้านดอนใจ เมืองสิง. ภูมิปัญญา พัฒนาการ และความสัมพันธ์ไตลื้อย้ายถิ่นสองฝั่งโขง.

สํารวจชุมชนไตลื้อบ้านกอข่อย   เมืองยอง   และบ้านดอนใจ เมืองสิง. ภูมิปัญญา พัฒนาการ และ ความสัมพันธ์ไตลื้อย้ายถิ่นสองฝั่งโขง.  โดย สืบพงศ์ จรรย์สืบศรี.  อาจารย์ประจําคณะศิลปกรรมและ สถาปัตยกรรมศาสตร์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา csuebpong@gmail.com.  Link   http://www.arch.su.ac.th/conference_2016/images/proceedings/Proceedings_C03_suebpong.pdf

24.04.2561 ลิงก์ : "เมืองยอง" วิถีคนยองและความแปรเปลี่ยน โดย : เคารพ พินิจนาม

ลิงก์ : "เมืองยอง" วิถีคนยองและความแปรเปลี่ยน โดย : เคารพ พินิจนาม                       https://prachatai.com/journal/2006/10/10090

24.04.2561 เมืองยอง (เป็นเมืองหรืออำเภอหนึ่ง) แขวงเมืองพะยาค รัฐฉาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา.

รูปภาพ
เมืองยอง จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี บทความนี้ ไม่มี การอ้างอิง จาก แหล่งที่มาใด   กรุณาช่วย ปรับปรุงบทความนี้  โดยเพิ่มการอ้างอิงแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ เนื้อความที่ไม่มีแหล่งที่มาอาจถูกคัดค้านหรือลบออก เมืองยอง เมือง เมืองยอง ที่ตั้งในประเทศพม่า พิกัดภูมิศาสตร์:  21°11′N   100°22′E พิกัดภูมิศาสตร์ :  21°11′N   100°22′E ประเทศ พม่า รัฐ ฉาน อำเภอ พยาค ตำบล เมืองยอง เขตเวลา MST  ( UTC+6.30 ) เมืองยอง  เป็นเมืองหรืออำเภอหนึ่งใน  รัฐฉาน   ประเทศพม่า ขึ้นกับแขวง เมืองพะยาค  เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ทั้งเกี่ยวข้องกับ  พม่า   ล้านนา   สยาม   ลาว  และ เขต สิบสองปันนา  ของ จีน  ผู้ที่อยู่อาศัยในเมือง จะถูกเรียกว่า  ชาวลื้อ คนเมืองยองสืบเชื้อสายมาจากผู้คนที่อพยพมาจากเมือง เชียงรุ่ง และเมืองอื่น ๆ ในสิบสองพันนา ซึ่งเป็นคนลื้อหรือ ไทลื้อ และเมื่ออพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานครั้งใหญ่ในเมืองลำพูนในปี พ.ศ. 2348 คนทั่วไปจึงเรียกว่า คนเมืองยอง เพราะในสมัยนั้นรัฐประชาชาติหรือรัฐชาติ (Nation State) แบบตะวันตกยังไม่เกิดขึ้น ในสมัยนั้นผู้คนต่างบ้านหลายเม